THE GREATEST GUIDE TO ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Greatest Guide To ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Greatest Guide To ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

กล่าวโดยสรุป ผู้เขียนพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย โดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นปัญหาที่มาจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรียน การเพิ่มจำนวนครู การให้ความรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าที่จะมาจากปัจจัยที่คงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา) ดังนั้น หากภาครัฐมีการกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยให้ลดลงได้

เกี่ยวกับเรา รู้จักทีดีอาร์ไอ เกี่ยวกับเรา

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 

บุคลากรในโรงเรียนบางแห่งไม่สามารถจัดสรรเวลาไปเยี่ยมบ้านนักเรียนยากจน หรือเลือกใช้วิธีสอบถามจากนักเรียนแทน เพื่อให้กรอกรายละเอียดเสร็จทันตามกำหนด ข้อมูลที่ได้จึงไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง

การช่วยเหลือนักเรียนยากจนให้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาอย่างเสมอภาคกับนักเรียนกลุ่มอื่นในสถานการณ์ที่ค่าใช้จ่ายด้านต่างๆ รังแต่จะเพิ่มขึ้น แต่เงินอุดหนุนมีปริมาณเท่าเดิมหรือน้อยลง จึงแลดูคล้ายกับภาพฝันอันห่างไกล

ศูนย์การเรียนไร่ส้มวิทยา จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เด็กที่หลุดจากระบบการศึกษา เด็กที่อยู่ในสภาวะยากลำบากในพื้นที่ห่างไกล ให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และได้มาตรฐานตามหลักสูตร

รายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำของ กสศ.

สามารถขอรับคำปรึกษา และหากโครงการที่นำเสนอมีศักยภาพ จะมีโอกาสได้รับเงินทุนทำต่อ และ ได้รับการสนับสนุนการทำโครงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น knowledge / engineering / assessment / economical / study/ partnership

มูลนิธิบ้านเด็กบุญทอง เป็นมูลนิธิที่ช่วยเหลือเด็กกำพร้า และเด็กที่ด้อยโอกาส ในการสนับสนุนให้ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย และช่วยสนับสนุนอุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นต่อการศึกษา

คลื่น “ความเหลื่อมล้ำ” ทางการศึกษา ซัดเด็กไทยให้หายไประหว่างทาง ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ความยากจนซ้ำเติม “เด็กหลุดจากระบบ”

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

หากจะกล่าวว่า “มิติทางเศรษฐกิจส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา หรือทำให้ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเสมอภาค” คำกล่าวนี้ก็อาจจะไม่ถูกต้องเสมอไป เรายังพบว่ามีเด็กอีกหลายคนที่ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไม่ได้เกิดจากฐานะทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว

Report this page